ความหมายของสังคมมนุษย์ สังคมหมายถึง การอยู่รวมกันเป็นหมู่คณะอย่างถาวรของมนุษย์ ในสังคมนั้นมีบุคคลแต่ละคนเป็นส่วนประกอบรวมตัวกันขึ้น บุคคลแต่ละคนนี้นับว่าเป็นหน่วยเล็กที่สุดที่ประกอบขึ้นเป็นสังคม เป็นหน่วยสุดท้ายที่แยกให้เล็กลงไปอีกไม่ได้แล้ว การมาอยู่รวมกันเป็นหมู่คณะกลุ่มก้อนและเป็นการอยู่รวมกันอย่างถาวรได้ก็จะต้องมีสิ่งที่เป็นตัวเชื่อมโยงที่ทำให้เกิดความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น ทำให้มนุษย์อยู่รวมกันอย่างสงบ มีระเบียบเรียบร้อย กลายเป็นสังคม (society)
สังคม หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่รวมกัน มีความสัมพันธ์กัน พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน มีระเบียบกฎเกณฑ์ และความเชื่อถือที่สำคัญๆ ร่วมกัน ตลอดจนมีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกันเอง และระหว่างบุคคลกับกลุ่มสังคม (อ่านต่อ)
โครงสร้างและความสำคัญของรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2550 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม
พุทธศักราช 2550 มีบทบัญญัติเกี่ยวกับโครงสร้าง
การบริหารรัฐและการเมืองการปกครองของไทยไว้ในหมวด 1 บททั่วไป
คือ
1. ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรเดียวจะแบ่งแยกมิได้
2. มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
3. อำนาจประชาธิปประไตยเป็นของปวงชนชาวไทย
พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นองค์ประมุขจะทรงใช้อำนาจผ่านทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล(อ่านต่อ)
สิทธิมนุษยชน (Human Right) หมายถึง
สิทธิที่มนุษย์ทุกคน
มีความเท่าเทียมกัน
มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ
และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง
ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้
โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ
หมายถึง คุณสมบัติ จิตใจ
สิทธิเฉพาะตัวที่พึงสงวนของมนุษย์ทุกคน
และรักษาไว้มิให้บุคคลอื่นมาล่วงละเมิดได้
การถูกละเมิดศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย์จึงเป็นสิ่งที่ต้องได้รับการ(อ่านต่อ)